วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555

Verb to do

Verb to  do
Do  และ  Does  มีหลักการใช้คือ  ถ้าเป็นกริยาสำคัญหรือกริยาแท้ในประโยคจะมีความหมายว่า  ทำ           ต้องแยกใช้ไปตามประธานของประโยคให้ถูก  เช่น                           He  does  his  homework.
                          They  do  their  homework
.
เป็นกริยาช่วยในประโยคคำถามและปฏิเสธที่มีกริยาแท้อยู่แล้วในประโยค และประโยคนั้นไม่มี Verb to be
     (  is   am  are  ) .ในบริบทของประโยคเช่นนี้  do , does จะไม่มีความหมาย  เป็นเพียงตัวช่วย  เช่น
            He  does  not   have  any  sisters.
            We  do   not  buy  a  big  car.
       Remark : Verb  to  be  ไม่อยู่  เอา  Verb  to  do  เข้ามาช่วย
                        do  not  ใช้รูปย่อเป็น    don’t  / does  not    ใช้รูปย่อเป็น    doesn’t
                        
                 
แยกใช้ไปตามประธานของประโยคดังนี้
            1.  ประธานเป็นเอกพจน์บุรุษที่  3  (  He , She , It  ชื่อคนคนเดียว สัตว์ตัวเดียว และสิ่งของอันเดียว                 ที่ถูกกล่าวถึง ) ใช้ Does.
            2.  ประธานเป็นไม่ใช่เอกพจ  น์บุรุษที่  3  (  I , You  , We , They   ชื่อคนหลายคน  สัตว์หลายตัว                   สิ่งของหลายอย่างที่ถูกกล่าวถึง ) ใช้  Do

แยกใช้ตามตารางต่อไปนี้

I




do




it
You
We
They
Dang  and Dum
The  cats
Three  balls
He



does



it
She
It
Sam
A  dog
A man

 การใช้  Verb  to  do  ในประโยคปฏิเสธ
มีหลักการดังนี้
            1.  Verb to  do  เป็นเพียงกริยาช่วย  ( Helping  Verb ) ไม่ใช่กริยาแท้
            2.  กริยาแท้ของประโยคต้องใช้รูปเดิม  ( Base  form ) จะไม่มีการเติมหรือเปลี่ยนไปเป็นช่องใดทั้งสิ้น นะครับ
            ประโยคบอกเล่า          He  likes  cartoon.
            ประโยคปฏิเสธ            He  doesn’t  like  cartoon.
            ประโยคบอกเล่า          They  play  football.
            ประโยคปฏิเสธ            They  don’t  play  football.
 

การใช้  Verb  to  do  ในประโยคคำถาม  มีดังนี้
             1.  Yes / No  Questions
            1.  ใช้  Verb  to  do  วางหน้าประโยค  ตามด้วยประธานของประโยคและกริยาแท้ของประโยควางเรียง         ต่อมา  ตัวอย่างเช่น
กริยาแท้ใช้  Base  form  ( รูปเดิมที่ไม่ต้องเติมหรือผัน )
            ประโยคบอกเล่า          He  likes  cartoon.
            ประโยคคำถาม            Does  he  like  cartoon ?
            ประโยคบอกเล่า          They  play  football.
            ประโยคคำถาม            Do  they  play  football. ?
            2.  Wh. Questions
1.  ใช้  Verb  to  do  วางข้างหลัง Wh. และหน้าประธานของประโยค  ตามด้วย 
      กริยาแท้ของประโยควางเรียงต่อมา  ตัวอย่างเช่น
            ประโยคคำถาม            What  does   he  want  ?
            ประโยคคำตอบ           He  wants  a  pen.
            ประโยคคำถาม            When  do  you  have  lunch ?
            ประโยคคำตอบ           I  have  lunch  at  12.00.






ส่วนต่างๆ ของคำ (Parts of Speech)
ชนิดของคำจะแบ่งออกเป็น 8 ประเภท คือ



1.คำนาม(Noun,n)

เป็นคำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ หรือ สถานที่
  • คนเช่น man, woman, Mr.Jack, Mr.Jill...etc
  • สัตว์เช่น dog, cat, cow...etc
  • สิ่งของเช่น house, table, book...etc
  • สถานที่เช่น school, police station, library


2.คำกริยา (Verb,v)

เป็นคำที่ใช้แสดงการกระทำของ นาม หรือ สรรพนาม เช่น
 That boy smiles.:เด็กผู้ชายคนนั้นยิ้ม



3.คำสรรพนาม (Pronoun)
เป็นคำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องพูดซ้ำบ่อยๆ

I=ฉัน You=คุณ We=พวกเรา They=พวกเขา He=เขา She=หล่อน It=มัน  เช่นนายแดงกินข้าว และเขากำลังดูโทรทัศน์ จะได้เป็น
Mr. Dang eat rice and he is watching TV.



4.คำคุณศัพท์ (Adjective,Adj)

เป็นคำที่ใช้ขยายนามและสรรพนามให้ได้ใจความที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He has a yellow car.:เขามีรถสีเหลืองคันหนึ่ง
The fat boy is coming.:เด็กผู้ชายอ้วนกำลังมา



5.คำกริยาวิเศษณ์(Adverb)
เป็นคำที่ใช้สำหรับขยาย
กริยาให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He walks very carefully. : เขาเดินอย่างระมัดระวัง
They work slowly. : พวกเขาทำงานช้า



6. บุพบท (Preposition) เป็นคำที่แสดงความเกี่ยวข้องกันระหว่างคำนามกับคำนาม , คำนามกับสรรพนาม หรือคำนามกับกริยา ฯลฯ เช่นA cat is on the floor. : แมวตัวหนึ่งอยู่บนพื้น
He will go with me. : เขาจะไปกับฉัน


7. คำสันธาน (Conjunction)เป็นคำที่ทำหน้าที่เชื่อมประโยคกับประโยค หรือ คำกับคำ ให้ได้ใจความที่มีปะติดปะต่อกัน เช่นHe and I are friends. : เขากับฉันเป็นเพื่อนกัน
He was eat , when I came here.: เขากินข้าวเสร็จแล้วเมื่อฉันมาถึง
8. คำอุทาน (Interjection)เป็นคำเปล่งเสียงออกมาลอยๆ เพื่อแสดงความรู้สึก เช่น
Oh! , Op! , etc...
Oh my god! I forgot it. : ตายจริง! (พระเจ้าช่วย!) ฉันลืมมันไปเลย
Op! I did it again. : อุ๊บ! ฉันทำมันอีกแล้ว
ตัวอย่าง รูปแบบประโยคและการแยกชนิดของ
เขาเป็นเด็กดี เพราะ เขาไปโรงเรียนทุกวัน
He is a good boy , because he goes to school everyday.
He = สรรพนามgoes = กริยาday = นาม is = กริยาto = บุพบทgood = คุณศัพทschool = นามbecause = สันธานevery = คุณศัพท์